สมณศักดิ์ ของ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)

  • พ.ศ. 2420 เป็นพระราชาคณะที่ พระศรีวิสุทธิวงศ์[1]
  • พ.ศ. 2443 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองในคณะกลาง มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 8 รูป มีนิตยภัตเดือนละ 6 ตำลึง มีราชทินนามตามจารึกในหิรัญบัฏว่า พระพรหมมุนีศรีวิสุทธิญาณนายก ตรีปิฎกธรรมาลงกรณ์ มัชฌิมคณฤศร บวรสังฆารามคามวาสี[4]
  • พ.ศ. 2448 เป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่คณะกลาง มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 8 รูป มีนิตยภัตเดือนละ 10 ตำลึง มีราชทินนามตามจารึกในสุพรรณบัฏพิเศษว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์ อเนกสถานปรีชา สัปตวิสุทธิ์จริยาสมบัติ นิพัทธธุตคุณ สิริสุนทรพรตจาริก อรัญญิกมหาปรินายก ตรีปิฎกโกศล วิมลมัชฌิมคณฤศร บวรสังฆารามคามวาสี อรัญวาสี[5]

ใกล้เคียง

สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทฺธสโร) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)